วันพฤหัสบดีที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2556

ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง(Review of Rrlated Literatures)


ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง(Review of Rrlated Literatures)
http://www.bestwitted.com/?tag=%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%97%E0%B8%B5 กล่าวไว้ว่า ทบทวนเอกสารและงานวิจัย(วรรณกรรม)ที่เกี่ยวข้องการทบทวนวรรณกรรม หมายถึง การศึกษาค้นคว้าเอกสารหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ผู้วิจัยกำลังจะทำการศึกษา เพื่อให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎี แนวคิด อันเชื่อมโยงมาสู่การกำหนดกรอบแนวคิดและตัวแปรที่เกี่ยวข้องซึ่งถือเป็นขั้นตอนที่มีความสำคัญ
ขั้นตอนในการทบทวนวรรณกรรม
         -กำหนดขอบเขตของการทบทวนวรรณกรรม
         -ค้นหาเอกสารหรือข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
         -การเลือกเอกสารและรายงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
         -การอ่านเอกสาร
         -บันทึกข้อมูล
         -การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
หลักการเขียนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
รูปแบบการอ้างอิง 

อ้างอิงเชิงอรรถ (Footnote Style) ท้ายหน้าที่อ้างอิง โดยมีชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือ หรือ บทความ ปีที่พิมพ์และหมายเลขหน้าอ้างอิงระบบ นาม ปี (Author – Date Style) มีเฉพาะชื่อนามสกุล ปีที่พิมพ์ และหมายเลขหน้า โดยวงเล็บไว้หลังข้อความที่อ้างอิง
http://thethanika.blogspot.com/2011/06/blog-post_476.html ได้กล่าวไว้ว่า หลักการสำคัญในการศึกษาทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องดังนี้
           1.เพื่อเป็นการค้นคว้าหาหัวข้อวิจัยว่า มีประเด็นปัญหาอะไรที่น่าจะนำมาเป็นปัญหา(ซึ่งผู้วิจัยยังไม่ทราบว่าจะทำเรื่องอะไร)
         2.เพื่อศึกษาว่าในเรื่องที่ผู้วิจัยจะทำวิจัยนี้ มีใครเคยทำเรื่องนี้มาบ้าง ถ้าทำแล้วมีผลอย่างไร จะต้องเสริมจุดไหนที่ยังไม่ชัดเจน (ซึ่งแสดงว่าเรื่องที่จะทำวิจัย ยังไม่ชัดเจนถึงขนาดตั้งเป็นชื่อเรื่องได้

http://www.gotoknow.org/posts/140327 กล่าวไว้ว่า การทบทวนวรรณกรรมในงานวิจัย หรือ การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง   (review of related literature)    หมายถึง   การศึกษาเชิงทฤษฎี  หรือผลงานวิจัย หรือรายงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดหรือทฤษฎีที่นำมาใช้ในการทำวิจัย  โดยการศึกษาจากวารสาร    หนังสือตำรา    รายงานวิจัย   จดหมายเหตุ  หรือแหล่งความรู้อื่นๆ
จุดมุ่งหมายในการทบทวนวรรณกรรมและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
   1.   เพื่อค้นหาความจริง
   2.   เพื่อเลือกปัญหาวิจัยได้ถูกต้อง
   3.   เพื่อช่วยในการให้คำนิยามปัญหา
   4.   เพื่อหลีกเลี่ยงการทำวิจัยซ้ำซ้อน
   5.   เพื่อหาเทคนิคในการวิจัย
   6.   เพื่อช่วยในการแปลความหมายผลการวิจัย
   7.   เพื่อเตรียมเขียนรายงานวิจัย 
การทบทวนวรรณกรรม  ต้องกระทำใน 2 ประเด็น คือ
   1.   การทบทวนแนวคิด / ทฤษฎี ที่จะนำมาใช้ในการวิจัย
   2.   การทบทวนวรรณกรรมหรืองานวิจัยที่มีผู้ทำไว้ก่อนแล้วในเรื่องนั้นๆ



สรุป

 ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง (Review of Related Literatures) คือ การศึกษาค้นคว้าเอกสารหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ผู้วิจัยกำลังจะทำการศึกษา เพื่อให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎี แนวคิด อันเชื่อมโยงมาสู่การกำหนดกรอบแนวคิดและตัวแปรที่เกี่ยวข้องซึ่งถือเป็นขั้นตอนที่มีความสำคัญ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องได้แก่ หลักการ ข้อเท็จจริงต่างๆ แนวความคิดของผู้เชี่ยวชาญ ตลอดจนผลงานวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาของผู้วิจัย รวมทั้งมองเห็นแนวทางในการดำเนินการศึกษาร่วมไปกับผู้วิจัยด้วย
ขั้นตอนในการทบทวนวรรณกรรม         -กำหนดขอบเขตของการทบทวนวรรณกรรม
         -ค้นหาเอกสารหรือข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
         -การเลือกเอกสารและรายงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
         -การอ่านเอกสาร
         -บันทึกข้อมูล
         -การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
ข้อเสนอแนะ
รายงานได้นำผลสรุปของงานวิจัยและข้อเสนอแนะของการนำผลการวิจัยไปใช้ทั้งหมด มาเชื่อมโยงกับปัญหาที่จะศึกษามากน้อยแค่ไหน
รายงานนั้นได้มีการเชื่อมโยงปัญหาที่ศึกษากับกรอบทฤษฎี หรือ กรอบแนวคิดหรือไม่
รายงานได้เชื่อมโยงกรอบทฤษฎีกับปัญหาที่ศึกษาอย่างเป็นธรรมชาติหรือไม่
รายงานได้เปิดช่องโหว่ให้เห็นถึงกรอบแนวคิดอื่นที่เหมาะสมกว่าหรือไม่
รายงานได้เชื่อมโยงอนุมานจากทฤษฎี หรือกรอบแนวคิดอย่างมีเหตุมีผลหรือไม่
หลักการสำคัญ
    1.เพื่อเป็นการค้นคว้าหาหัวข้อวิจัย  มีประเด็นปัญหาอะไรที่น่าจะนำมาเป็นปัญหา
                2.เพื่อศึกษาว่าในเรื่องที่ผู้วิจัยจะทำวิจัยนี้ มีใครเคยทำเรื่องนี้มาบ้าง ถ้าทำแล้วมีผลอย่างไร จะต้องเสริมจุดไหนที่ยังไม่ชัดเจน

จุดมุ่งหมายในการทบทวนวรรณกรรมและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
   1.   เพื่อค้นหาความจริง
   2.   เพื่อเลือกปัญหาวิจัยได้ถูกต้อง
   3.   เพื่อช่วยในการให้คำนิยามปัญหา
   4.   เพื่อหลีกเลี่ยงการทำวิจัยซ้ำซ้อน
   5.   เพื่อหาเทคนิคในการวิจัย
   6.   เพื่อช่วยในการแปลความหมายผลการวิจัย
   7.   เพื่อเตรียมเขียนรายงานวิจัย 
การทบทวนวรรณกรรม  ต้องกระทำใน ประเด็น คือ
   1.   การทบทวนแนวคิด / ทฤษฎี ที่จะนำมาใช้ในการวิจัย
   2.   การทบทวนวรรณกรรมหรืองานวิจัยที่มีผู้ทำไว้ก่อนแล้วในเรื่องนั้นๆ

แหล่งอ้างอิง
http://www.gotoknow.org/posts/140327  เข้าถึงเมื่อ  10/01/2556



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น